2 นาที

3 อันดับประกันชีวิตลดหย่อนภาษีตัวตึง งบ 20,000 มีทอน

แชร์

ใกล้สิ้นปีแล้ว หลายๆ คนคงรอไปฉลองปีใหม่กับคนที่รัก หรือกำลังรอโบนัสอยู่ แต่รู้ไหมมีสิ่งหนึ่งที่ไม่ต้องรอคือการวางแผนลดหย่อนภาษีประจำปีภาษี 65 นั่นเอง และก่อนที่จะหมดโอกาส วันนี้เรามีลายแทง 3 ประกันชีวิตตัวตึง ทุนประกัน 1 ล้าน และเบี้ยไม่เกิน 20,000 บาทที่ลูกค้าบนเว็บไซต์ noon.in.th กดสนใจซื้อมากที่สุดมาแชร์ไว้เป็นทางเลือกสำหรับคนที่กำลังมองหาตัวช่วยลดหย่อนภาษีกันอยู่ จะน่าสนใจแค่ไหนลองไปดูกันเลย 

3 อันดับตัวตึงประกันชีวิตลดหย่อนภาษี 


อันดับที่ 3 : AIA 20 Pay Life (Non Par) 
ระยะเวลาคุ้มครอง  ทุนประกัน ระยะเวลาจ่ายเบี้ย เบี้ยประกัน เงินคืนระหว่างสัญญา/ปี 
จนถึงอายุ 99 ปี ได้รับเมื่อเสียชีวิต 1,000,000 บาท 20 ปี  15,340 บาท/ปี * ไม่มี 
AIA 20 Pay Life (Non Par)
รายละเอียดแบบประกันเพิ่มเติม AIA 20 Pay Life (Non Par)


อันดับที่ 2 : กรุงเทพประกันชีวิต “ห่วงรัก พรีเมียร์”
ระยะเวลาคุ้มครอง ทุนประกัน ระยะเวลาจ่ายเบี้ย เบี้ยประกัน เงินคืนระหว่างสัญญา/ปี
จนถึงอายุ 99 ปี ได้รับเมื่อเสียชีวิต 1,000,000 บาท 20 ปี   15,290 บาท/ปี* ไม่มี
กรุงเทพประกันชีวิต “ห่วงรัก พรีเมียร์”
รายละเอียดแบบประกันเพิ่มเติม กรุงเทพประกันชีวิต “ห่วงรัก พรีเมียร์”


อันดับที่ 1 : เมืองไทยสมาร์ทโพรเทคชั่น 99/20
ระยะเวลาคุ้มครอง ทุนประกัน ระยะเวลาจ่ายเบี้ย เบี้ยประกัน เงินคืนระหว่างสัญญา/ปี
จนถึงอายุ 90 ปี ได้รับเมื่อเสียชีวิต 1,000,000 บาท 20 ปี   14,840 บาท/ปี* ไม่มี
เมืองไทยสมาร์ทโพรเทคชั่น 99/20
รายละเอียดแบบประกันเพิ่มเติม เมืองไทยสมาร์ทโพรเทคชั่น 99/20


3 อันดับประกันชีวิตลดหย่อนภาษีตัวตึง งบ 20,000 มีทอน
3 อันดับประกันชีวิตลดหย่อนภาษีตัวตึง งบ 20,000 มีทอน
หมายเหตุ *เบี้ยประกันอาจแตกต่างกันตามเพศและอายุของผู้ทำประกัน ในบทความนี้เบี้ยประกันคำนวณจากเพศหญิง อายุ 28 ปี
ประกันชีวิตทั้ง 3 อันดับที่นำมาแนะนำกันในวันนี้เป็นเพียงทางเลือกเท่านั้น หากสนใจแบบประกันชีวิตอื่นๆ สามารถเข้าไปค้นหา และเปรียบเที่ยบแบบประกันที่โดนใจได้ที่ noon.in.th เรามีแบบประกันให้เลือกหลากหลายค่าย เป็นกลางในทุกขั้นตอน รับรองได้เจอประกันชีวิตช่วยลดหย่อนภาษีที่ตรงใจอย่างแน่นอน

แชร์

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

4 ศัพท์ประกันต้องรู้กับประกันสุขภาพ Co-Payment

อยู่ดีๆก็มีเรื่องราวให้นอนไม่หลับ ประกันสุขภาพที่เราเคยเคลมแบบฉ่ำๆ เพราะมีเหมาจ่าย แต่อยู่ดีๆก็มีเงื่อนไข Co-payment หรือการมีส่วนร่วมจ่าย เข้ามาซะอย่างงั้น โดยเงื่อนไข Co-payment นี้จะมีผลกับกรมธรรม์ประกันสุขภาพที่อนุมัติตั้งแต่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2568 เป็นต้นไป

ระวังให้ดี!! ไม่ยื่นภาษี อาจมีความผิด

การยื่นภาษีเป็นหน้าที่สำคัญของชาวไทย หากละเลยนี้เมื่อใด สรรพากรก็อาจยกไม้เรียวที่ชื่อว่า "โทษปรับทางอาญา" "เบี้ยปรับ" และ "เงินเพิ่ม" ขึ้นมาตีเราทันที ไม่อยากดีก็รบยื่นภาษีกันให้ไว